กลับหน้าเว็บไซต์
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
กฎหมายทีเกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. กยท.
พ.ร.บ. กยท.(EN)
สรุปสาระสำคัญ พรบ. การยางฯ 58
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรการป้องกันการรับสินบน
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนรวม
มาตรการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
มาตรการส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2563
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
การบริหารความเสี่ยง กยท.
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
ผู้เกษียณ
สถานที่ติดต่อ กยท.
แผนวิสาหกิจ กยท.
ผลการดำเนินงาน กยท.
ประจำปี 2561
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
ประจำปี 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างรายได้จากการบริการและดำเนินธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเพื่ออนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การหลอมองค์กรให้เป็นหนึ่ง เพื่อการบริหารมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ผลการดำเนินงานโครงการตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กยท.
รายงานการเงิน กยท.
รายงานการเงินและงบการเงินประจำปี กยท.
รายงานเกี่ยวกับ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.2558
รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ไตรมาสที่ 1-4/2561
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ 2561
รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ ประจำปี 2561
รายงานผลการดำเนินงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2561
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
บริการ กยท.
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ตรวจสอบสิทธิ์ใช้สารเคมี ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส พาราควอต
ตรวจสอบสถานะการขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
ตรวจสอบสิทธิ์ประกันเกษตรกร
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
คู่มือการควบคุมคุณภาพ parasoil cement
ถ่ายทอดสด
คู่มือ work from home
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
เอกสารวิชาการ
รายงานข้อมูลวิชาการ
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2562
รายงานผลการวิจัยปี 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
ถอดองค์ความรู้
รวมบทคัดย่อ งานวิจัย 2557-2561
วารสารยางพารา
คำแนะนำพันธุ์ยาง
2554
2559
องค์ความรู้
คู่มือข้อมูลทางวิชาการและแนวทางการป้องกันกำจัดโรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ระบบการสร้างสวนยางแบบผสมผสานโดยการปลูกยางร่วมกับพืชชนิดอื่น
หลักการปลูกสร้างสวนยางแบบผสมผสาน
การปฎิบัติทางการเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับยางพารา
องค์ความรู้เกี่ยวกับ"โรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ฐานข้อมูลยางพารา
ช่องทางร้องเรียน
Sitemap
ตารางราคายาง วันนี้
ณ ตลาดกลาง ยางพาราหาดใหญ่
ยางพารา - สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (office of the rubber replanting aid fund)
ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้
>>
ข่าวประชาสัมพันธ์
กรมวิชาการเกษตร ไม่เคยแนะนำให้กรีดยาง หนึ่งในสี่ของลำต้น...... เรื่องเร่งด่วนที่เกษตรกรควรปฏิบัติตามคำแนนำ
วันที่ 22 ธ.ค. 2561
หลักปฏิบัติที่ดีในการจัดการแปลงยางพารามาตรฐาน GAP เพื่อให้ชาวสวนยางสามารถมีวิธีการจัดการสวนยางพาราได้อย่างถูกต้องมีข้อแนะนำตั้งแต่ การปลูก การใส่ปุ๋ย วิธีการกรีด ระบบกรีด โดยเฉพาะระบบกรีดตามคำแนะนำคือ 3 ระบบ ได้แก่
1. กรีดครึ่งลำต้น (กรีด 2 หน้า) โดยกรีด 1 วัน หยุด 2 วัน (S/2 d3) เหมาะสมกับพันธุ์ยางทั่วไป โดยเฉพาะพันธุ์ที่อ่อนแอต่ออาการเปลือกแห้ง เช่นพันธุ์ยางที่ให้ผลผลิตน้ำยางสูง
2. กรีดครึ่งลำต้น กรีด 1 วัน หยุด 1 วัน (S/2 d2) ใช้ได้กับพันธุ์ยางทั่วไป
3. กรีดครึ่งลำต้น หรือ กรีด 1 ใน 3 ของลำต้น (กรีด 3 หน้า) กรีดติดต่อกัน 2 วัน หยุด 1 วัน (S/2 d1 2d3, S/3 d1 2d3) ใช้กับเปลือกงอกใหม่ ไม่ควรกรีดเกิน 160 วันต่อปี และไม่ควรใช้กับพันธุ์ยางที่อ่อนแอต่ออาการเปลือกแห้ง อย่างไรก็ตามยังพบว่าเกษตรกรมีการแบ่งหน้ากรีดมากถึง 4 - 6 หน้า และแต่ละหน้ากรีดยังเว้นเปลือกไว้ระหว่างหน้ากรีดกว้าง 1 - 2 นิ้ว ซึ่งสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร (เดิม) ไม่เคยแนะนำให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับยางพาราและเกษตรกร กระทำในสิ่งที่ผิดไปจากหลักวิชาการ การกระทำดังกล่าวยิ่งทำให้รอยกรีดสั้นลงไปอีกและผลผลิตค่อนข้างต่ำ โดยให้เหตุผลว่าช่วงให้ท่อน้ำยางส่งตรงมายังโคนต้น สามารถเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้นและทำให้เปลือกงอกขึ้นใหม่หนา และยังอ้างอีกว่าน้ำยางมีเฉพาะส่วนหัวและท้ายรอยกรีดเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องกรีดยาว และกรีดตื้น ไม่ถึงเยื่อเจริญ ป้องกันไม่ให้เกิดโรคเส้นดำ โรคเปลือกเน่า ยังแนะนำผิด ๆ ให้กรีดถี่ คือ กรีด 3 - 5 วัน ติดต่อกันแล้วหยุดกรีด หรือกรีดทุกวันที่ในไม่ตก โดยให้เหตุผลว่ากรีดรอยกรีดสั้น กรีดง่าย กรีดไม่บาดหน้ายาง และรักษาเปลือกทำให้กรีดได้นาน โดย 1 หน้า กรีดได้ 3 ปี กรีดเปลือกเดิมทั้ง 4 หน้า กรีดได้ 12 ปี และกลับไปกรีดเปลือกงอกใหม่อีก 12 ปี รวมทั้งสิ้นสามารถกรีดได้นาน 24 ปี จึงโค่นขายไม้ยางโดยไม่มีการกรีดยางหน้าสูง การปฏิบัติดังกล่าวเป็นการเสียโอกาสต่อรายได้จากผลผลิตน้ำยางของเกษตรกรโดยตรง
ในขณะที่คำแนะนำทางวิชาการ "การกรีดยาง ให้แบ่งหน้ากรีด 2 - 3 หน้าเท่านั้น เพราะผลผลิตน้ำยางขึ้นอยู่กับความยาวของรอยกรีด มีผลการวิจัยทั้งในและต่างประเทศยืนยัน และท่อน้ำยางจะกระจายไปทั้งต้น และการกรีดทำให้ตัดท่อน้ำยางทำให้มีน้ำยางออกมาทั้งรอยกรีด ไม่ใช่ออกแค่ส่วนหัวกับท้ายรอยกรีดตามที่คิดเอาเอง และการกรีดลึกถึงเยื่อเจริญนอกจากจะให้ผลผลิตน้ำยางสูงเพราะตัดท่อน้ำยางมาก สำหรับโรคที่เกิดกับหน้ายาง สามารถใช้สารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น เมทาแลคซิล ฟอสอีทิล-อะลูมิเนียมหรืออาลีเอท เป็นต้น ผสมกับน้ำสะอาดใช้ทาหน้ายางที่กรีดในปีกรีดนั้นๆ ให้ทาทุกสัปดาห์ติดต่อกัน 4 สัปดาห์ เมื่อมีอาการของโรคและจะต้องทาทุกเดือนในช่วงฤดูฝน ส่วนความถี่ในการกรีดยาง ให้ความถี่สูงสุดไม่เกิน กรีด 2 วัน ติดต่อกัน หยุด 1 วัน หรือกรีดวันเว้นวัน เนื่องจากต้นยางจะสร้างน้ำยางชดเชยสูงสุดหลังจากกรีด ใช้เวลา 48 - 72 ชั่วโมง หรือ 2 - 3 วัน การกรีดดังกล่าวสามารถกรีดได้นานถึง 40 ปี เช่น แบ่งหน้ากรีด 3 หน้า กรีด 1 หน้า กรีดได้ 4 - 5 ปี กรีดเปลือกเดิมทั้ง 3 หน้า กรีดได้ 12 - 15 ปี และกลับไปกรีดเปลือกงอกใหม่อีก 12 - 15 ปี จากหน้ากรีดยางหน้าสูงได้อีก 10 ปี รวมทั้งสิ้นสามารถกรีดได้นาน 34 - 40 ปี นับว่าเป็นเรื่องเร่งด่วนที่การยางแห่งประเทศไทยจะต้องทบทวน ตรวจสอบและให้ส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สถาบันวิจัยยาง ฝ่ายส่งเสริมและกองฝึกอบรม มีบทบาทในการทบทวนหลักสูตรการฝึกอบรมการกรีดยางให้ถูกหลักวิชาการตามคำแนะนำของสถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย ต่อไป
เรื่อง : พิศมัย จันทุมา ศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 241 แฟ็กซ์ 0-2435-8956, 0-2424-3683