กลับหน้าเว็บไซต์
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
พรบ. กยท.
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรการป้องกันการรับสินบน
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนรวม
มาตรการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
มาตรการส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2561
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
การบริหารความเสี่ยง กยท.
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
สถานที่ติดต่อ กยท.
แผนวิสาหกิจ กยท.
ผลการดำเนินงาน กยท.
ประจำปี 2561
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
ประจำปี 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างรายได้จากการบริการและดำเนินธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเพื่ออนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การหลอมองค์กรให้เป็นหนึ่ง เพื่อการบริหารมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
ผลการดำเนินงานโครงการตามนโยบายรัฐบาล
รายงานประจำปี กยท.
รายงานการเงิน กยท.
รายงานการเงินและงบการเงินประจำปี กยท.
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ไตรมาสที่ 1-4/2561
รายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ 2561
รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ ประจำปี 2561
รายงานผลการดำเนินงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2561
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
บริการ กยท.
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ตรวจสอบสิทธิ์ใช้สารเคมี ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส พาราควอต
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
คู่มือการควบคุมคุณภาพ parasoil cement
ถ่ายทอดสด
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
ระบบฐานข้อมูลยางพารา
เอกสารวิชาการ
รายงานข้อมูลวิชาการ
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
ถอดองค์ความรู้
วารสารยางพารา
ช่องทางร้องเรียน
Sitemap
ตารางราคายาง วันนี้
ณ ตลาดกลาง ยางพาราหาดใหญ่
การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้
>>
ข่าวกิจกรรม
กยท. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การผลิตยางก้อนถ้วยมาตรฐาน GAP รุ่นที่ 2 เน้นการนำไปปฏิบัติจริง (26/08/60)
วันที่ 27 ส.ค. 2560
วันที่ 25 26 สิงหาคม 2560 กองฝึกอบรม การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การผลิตยางก้อนถ้วยมาตรฐาน GAP รุ่นที่ 2 ณ โรงแรมเลมอน รีสอร์ท อ. เมือง จ. บุรีรัมย์ และแปลงยางก้อนถ้วยในเขต อ. คูเมือง จ. บุรีรัมย์ โดยได้รับเกียรติจาก นายชัยศรี โชติรุ่งโรจน์ ผู้อำนวยการการยางแห่งประเทศไทยเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เป็นประธานในพิธีเปิด และคณะวิทยากรจากศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยาง ศูนย์วิจัยยางบุรีรัมย์ และศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา สถาบันวิจัยยาง รวมจำนวน 6 ท่าน ให้การอบรมพนักงาน กยท. ทางภาคอีสาน และภาคตะวันออก จำนวนทั้งสิ้น 40 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้พนักงาน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ หลักปฏิบัติการเกษตรที่ดีหรือมาตรฐาน GAP พร้อมที่จะถ่ายทอดเทคโนโลยีให้เกษตรกรสามารถผลิตยางก้อนถ้วยที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ได้รับราคาที่เป็นธรรมและอำนาจต่อรองกับผู้ซื้อ
การอบรมในครั้งนี้นอกจากจะได้รับความรู้หลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีแล้ว ยังได้มีการตรวจสอบหาชนิดของสารจับตัวยางด้วยเทคนิคอย่างง่าย รวดเร็ว สามารถแยกแยะได้ว่าสารจับตัวใดเป็นกรดฟอร์มิก กรดซัลฟิวริก หรือเกลือ ซึ่งทั้งกรดซัลฟิวริกและเกลือสร้างความเสียหายต่อคุณภาพยางอย่างยิ่ง นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้วิธีการประเมินแปลงยางของเกษตรกร วิธีการผลิตยางก้อนถ้วยตลอดจนการจัดเก็บและขนส่ง เพื่อพิจารณาเข้าหลักเกณฑ์เป็นแปลงที่ได้รับมาตรฐาน GAP ซึ่งคาดว่าหลักสูตรนี้จะนำไปใช้ในการขยายผลให้เกษตรกรสามารถปฏิบัติตามหลักปฏิบัติทางการเกษตรที่ได้เพิ่มมากขึ้นในอนาคตได้อย่างแน่นอน
เรื่อง/ภาพ : ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 241 แฟ็กซ์ 0-2435-8956, 0-2424-3683