EN
CN
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
กฎหมายทีเกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. กยท.
พ.ร.บ. กยท.(EN)
สรุปสาระสำคัญ พรบ. การยางฯ 58
คำพิพากษา
ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
คู่มือจริยธรรมและจรรยาบรรณของคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
นโยบาย No gift Policy
มาตรการป้องกันการรับสินบน
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนรวม
มาตรการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
มาตรการส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2567
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
นโยบายการกำกับดูแลที่ดี การบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในและการกำกับดูแลการปฏิบัติงาน
หน่วยกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
นโยบาย
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
ทิศทางนโยบายองค์กร
นโยบายธรรมาภิบาลข้อมูลและแนวปฏิบัติ
นโยบายและแนวปฏิบัติการจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
นโยบายอนุรักษ์พลังงาน
นโยบายและแนวปฏิบัติการกำกับดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
นโยบายเว็บไซต์
นโยบายข้อมูลส่วนตัว
ความเสี่ยงและควบคุมภายใน
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
หนังสือเกษียนฯ
หน่วยธุรกิจ
กฎบัตรและมาตรฐานด้านบริการ
นโยบายและแนวปฏิบัติการจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
แผน/ผลการดำเนินการ
แผนวิสาหกิจ กยท.
แผนปฏิบัติการประจำปี
2561
2562
2563
2564
2565
2566
2567
2568
รายงานเกี่ยวกับ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.2558
รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
รายงานประจำปี
รายงานผลการใช้จ่ายประจำปี
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2565
2564
2566
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
แผนผลยุทธศาสต์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้า
แผนแม่บทด้านลูกค้าและตลาด 2566-2570
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการและแผนสร้างความสัมพันธ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2567
แผนปฏิบัติการด้านยางพารา 2566-2580 (ปรับปรุงจากยุทธศาสตร์ยางพาราระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579)
แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2566-2570(ทบทวน 2568)
แผนแม่บทด้านลูกค้าและตลาด 2566-2570 (ทบทวน 2568)
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 2567 รอบที่ 1
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 2566 รอบที่ 2
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 2566
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 2567 รอบที่ 2
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
แผนแม่บท CSR
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
รายงานผลประชาพิจารณ์
แผนปฎิบัติการด้านยางพารา พ.ศ. 2566-2580
คู่มือ/แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
แผนแม่บทและแผนปฏิบัติการ
แผนแม่บทการจัดการนวัตกรรมปี 2564 - 2565 และแผนบริหารจัดการนวัตกรรมปี 2564 - 2565
แผนแม่บท
แผนปฏิบัติการ
แผนแม่บทด้านลูกค้าและตลาด 2566-2570 (ฉบับทบทวนปี 2567)
แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567 ของแผนแม่บทด้านลูกค้าและตลาด
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม 2567
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม 2568
แผนแม่บทด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม 2567
แผนแม่บทด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม 2568
แผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ(BCP)
บริการ กยท.
ขั้นตอนการส่งสินค้าออกไปต่างประเทศ
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ตรวจสอบสิทธิ์ใช้สารเคมี ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส พาราควอต
ตรวจสอบสถานะการขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
ตรวจสอบสิทธิ์ประกันเกษตรกร
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
คู่มือการควบคุมคุณภาพ parasoil cement
ระบบบริหารจัดการทรัพย์สิน RO-AT@
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
เอกสารด้านวิชาการ
ข้อมูลวิชาการด้านยางพารา
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
เอกสารวิชาการด้านยางพาราปี 2564
ถอดองค์ความรู้
องค์ความรู้
คู่มือข้อมูลทางวิชาการและแนวทางการป้องกันกำจัดโรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ระบบการสร้างสวนยางแบบผสมผสานโดยการปลูกยางร่วมกับพืชชนิดอื่น
หลักการปลูกสร้างสวนยางแบบผสมผสาน
การปฎิบัติทางการเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับยางพารา
รวมบทคัดย่อ งานวิจัย 2557-2561
เอกสารวิชาการ
รายงานผลงานวิจัยเรื่องเต็ม
รายงานผลงานวิจัยเรื่องเต็มปี 64
รายงานผลการวิจัยปี 2563
รายชื่องานวิจัยที่สิ้นสุดปี 2535 - 2563
รายงานผลการวิจัยปี 2562
รายงานผลการวิจัยปี 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
ฐานข้อมูลงานวิจัยที่สิ้นสุดของ กยท. (ปี 2558-2566)
คำแนะนำพันธุ์ยาง
2554
2559
วารสารยางพารา
การจัดการนวัตกรรม
ฐานข้อมูลงานวิจัย
สถิติส่งออกและนำเข้ายาง
สถานการณ์อุตสาหกรรมยาง
ระบบการจับคู่ผู้ซื้อผู้ขาย PFCM
เปิดเผยข้อมูล
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
จริยธรรม
ประมวลจริยธรรมสำหรับผู้บริหารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ
คู่มือจริยธรรม จรรยาบรรณของ ผู้บริหาร พนักงานและลูกจ้างของ กยท.
ติดต่อ
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
สถานที่ติดต่อ กยท.
ร้องเรียน-ถามตอบ
ช่องทางร้องเรียน
ถามตอบ
Sitemap
ศูนย์บริการทดสอบรับรองภาคใต้
>>
ข้อมูลทางวิชาการ
เกร็ดความรู้เล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ควรรู้เกี่ยวกับน้ำยางสด (14/11/60)
วันที่ 14 พ.ย. 2560
น้ำยางสดเป็นของเหลวสีขาวคล้าย ๆ น้ำกะทิหรือน้ำนม น้ำยางสดจะมีความหนืดเล็กน้อย มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว มีฤทธิ์เป็นกลางและมีประจุลบจึงต้องใช้สารที่มีประจุบวกในการจับตัวยาง น้ำยางหลังจากกรีด ถ้าหากตั้งทิ้งไว้นานกว่า 4 ชั่วโมง จะเริ่มเสียสภาพสังเกตจากน้ำยางขณะที่ยังสดจะเหลวสามารถกระจายตัวได้ดีในน้ำ
ถ้าน้ำยางสดเริ่มเสียสภาพจะข้นหรือหนืดเล็กน้อย การกระจายตัวในน้ำจะช้ากว่าปกติ แต่ถ้าหากน้ำยางเริ่มบูดน้ำยางจะเริ่มเกาะตัวเป็นเม็ดเล็ก ๆ และสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนหากหยดน้ำยางเพียง 1 หยด ลงในน้ำ ถ้าน้ำยางเริ่มเสียสภาพจะเห็นการจับตัวของเนื้อยางเป็นเม็ดเล็ก ๆ ในน้ำได้อย่างชัดเจน หรือสังเกตเมื่อหยดน้ำยางลงในน้ำแล้วน้ำยางกระจายตัวอย่างช้า ๆ แสดงว่าน้ำยางเริ่มเสียสภาพ ในทางตรงข้ามหากน้ำยางยังสดอยู่ เมื่อหยดลงในน้ำจะสามารถกระจายตัวได้อย่างรวดเร็วเป็นเนื้อเดียวกับน้ำ
หากปล่อยทิ้งให้บูดเน่าน้ำยางจะจับตัวเป็นก้อน เกิดกลิ่นเหม็นเนื่องจากโปรตีนที่อยู่ในน้ำยางมีองค์ประกอบของกำมะถันแล้วทำปฎิกิริยากับจุลินทรีย์เกิดปฎิกิริยาเป็นก๊าซไข่เน่าและเมอร์แคปแทนที่มีกลิ่น โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อนหรือฤดูฝนจะจับตัวเร็วกว่าปกติ น้ำยางที่เสียสภาพจะไม่แนะนำให้ผลิตเป็นยางแผ่นดิบเพราะจะเกิดฟองอากาศในแผ่นยาง และไม่แนะนำให้ผลิตเป็นน้ำยางข้นเพราะจะไม่สามารถควบคุมค่าความบูดของน้ำยางได้ นอกเสียจากจะนำไปทำเป็นยางก้อนหรือเข้าสู่กระบวนการผลิตยางแท่ง
น้ำยางสดมีปริมาณเนื้อยางแห้ง (DRC) ตั้งแต่ 25 40% ช่วงที่เริ่มเปิดกรีดครั้งแรกน้ำยางจะมี DRC น้อยเฉลี่ย 27% และ DRC จะมากขึ้นตามอายุของต้นยางโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 33% ต้นยางที่อายุมากกว่า 25 ปีขึ้นไปจะมี DRC ประมาณ 40% สำหรับในช่วงที่ยางผลัดใบหรือช่วงปิดกรีด ต้นยางจะผลิตน้ำยางลดลง เพราะสารคาร์โบไฮเดรตที่อยู่ในใบซึ่งเป็นตัวตั้งต้นในการผลิตน้ำยางไม่สามารถสร้างน้ำยางได้ แต่เมื่อถึงช่วงฤดูเปิดกรีดอีกครั้งน้ำยางที่กรีดออกมาในช่วง 1 4 วันแรก น้ำยางจะข้นและค่อนข้างหนืด เนื่องจากมีสารที่ไม่ใช่ยางออกมาในปริมาณมากกว่าปกติ ทำให้การเปิดกรีดช่วงนี้น้ำยางจะเสียสภาพเร็ว ส่วนใหญ่มักจะนำไปทำยางก้อนมากกว่าจะขายในรูปน้ำยางสดหรือทำยางแผ่นดิบ
อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะนำน้ำยางสดไปแปรรูปเป็นยางชนิดใด ถ้าเป็นไปได้น้ำยางนั้นควรมีความสดและสะอาดมากที่สุด ให้ใช้สารรักษาสภาพน้ำยางเท่าที่จำเป็น หากใช้ไม่ถูกต้อง นอกจากจะได้คุณภาพยางต่ำกว่ามาตรฐานแล้วยังส่งผลให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นอีกด้วย
เรื่อง/ภาพ : ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 222,296 Email: saraban@raot.mail.go.th
นโยบายเว็บไซต์
|
นโยบายข้อมูลส่วนตัว
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์