EN
CN
เกี่ยวกับ กยท.
ข้อมูลทั่วไป
กฎหมายทีเกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. กยท.
พ.ร.บ. กยท.(EN)
สรุปสาระสำคัญ พรบ. การยางฯ 58
คำพิพากษา
ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา
คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
คู่มือคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
คู่มือจริยธรรมและจรรยาบรรณของคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย
ผู้บริหารการยางแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทย
ป้องกันและปราบปรามทุจริต
นโยบาย No gift Policy
มาตรการป้องกันการรับสินบน
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนรวม
มาตรการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
มาตรการส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประกาศเจตจำนงสุจริต กยท.
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท. ปี 2567
คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
กฎบัตรคณะอนุกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ กยท
นโยบายการกำกับดูแลที่ดี การบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในและการกำกับดูแลการปฏิบัติงาน
หน่วยกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
นโยบาย
นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
ทิศทางนโยบายองค์กร
นโยบายธรรมาภิบาลข้อมูลและแนวปฏิบัติ
นโยบายและแนวปฏิบัติการจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
นโยบายอนุรักษ์พลังงาน
นโยบายและแนวปฏิบัติการกำกับดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
นโยบายเว็บไซต์
นโยบายข้อมูลส่วนตัว
ความเสี่ยงและควบคุมภายใน
คู่มือปฏิบัติงาน Compliance Manual
หนังสือเกษียนฯ
หน่วยธุรกิจ
กฎบัตรและมาตรฐานด้านบริการ
นโยบายและแนวปฏิบัติการจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
แผน/ผลการดำเนินการ
แผนวิสาหกิจ กยท.
แผนปฏิบัติการประจำปี
2561
2562
2563
2564
2565
2566
2567
2568
รายงานเกี่ยวกับ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.2558
รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พ.ร.บ. การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
รายงานประจำปี
รายงานผลการใช้จ่ายประจำปี
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2565
2564
2566
สรุปการจัดซื้อจัดจ้าง
การร้องทุกข์/ร้องเรียน
คู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนของการยางแห่งประเทศไทย
แผนผลยุทธศาสต์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้า
แผนแม่บทด้านลูกค้าและตลาด 2566-2570
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการและแผนสร้างความสัมพันธ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2567
แผนปฏิบัติการด้านยางพารา 2566-2580 (ปรับปรุงจากยุทธศาสตร์ยางพาราระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579)
แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2566-2570(ทบทวน 2568)
แผนแม่บทด้านลูกค้าและตลาด 2566-2570 (ทบทวน 2568)
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 2567 รอบที่ 1
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 2566 รอบที่ 2
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 2566
รายงานการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 2567 รอบที่ 2
การดำเนินงานด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
แผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
แผนแม่บท CSR
นโยบายแผนกิจกรรมเพื่อสังคม กยท.
รายงานผลประชาพิจารณ์
แผนปฎิบัติการด้านยางพารา พ.ศ. 2566-2580
คู่มือ/แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
แผนแม่บทและแผนปฏิบัติการ
แผนแม่บทการจัดการนวัตกรรมปี 2564 - 2565 และแผนบริหารจัดการนวัตกรรมปี 2564 - 2565
แผนแม่บท
แผนปฏิบัติการ
แผนแม่บทด้านลูกค้าและตลาด 2566-2570 (ฉบับทบทวนปี 2567)
แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2567 ของแผนแม่บทด้านลูกค้าและตลาด
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม 2567
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม 2568
แผนแม่บทด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม 2567
แผนแม่บทด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม 2568
แผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ(BCP)
บริการ กยท.
ขั้นตอนการส่งสินค้าออกไปต่างประเทศ
การให้การสงเคราะห์ปลูกแทน
การยื่นคำขอรับการส่งเสริม
เเละสนับสนุนให้มีการปลูกเเทน
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
การชำระค่าธรรมเนียม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ NSW
ข่าว/ประชาสัมพันธ์
ประกาศ/ระเบียบ/วิธีปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา
ตรวจสอบสิทธิ์ใช้สารเคมี ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส พาราควอต
ตรวจสอบสถานะการขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง
ตรวจสอบสิทธิ์ประกันเกษตรกร
ระบบบริการข้อมูลสำหรับเกษตรชาวสวนยางแบบอิเล็กทรอนิกส์
ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม เพื่อเป็นสวัสดิการของเกษตรกรชาวสวนยาง
หนังสือแจ้งผู้รับผลประโยชน์การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม
ใบแจ้งอุบัติเหตุสำหรับการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลกลุ่ม
คู่มือการเรียกร้องสินไหมทดแทน (สำหรับ ชาวสวนยาง)
คู่มือบริการประชาชน
คู่มือขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการยาง
คู่มือการควบคุมคุณภาพ parasoil cement
ระบบบริหารจัดการทรัพย์สิน RO-AT@
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลยางพารา
กรมพัฒนาที่ดิน
ข้อมูลชุดดิน ชนิดดิน
พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์การผลิตภัณฑ์ยาง
ราคายางสังเคราะห์
สมาคมน้ำยางข้น
ข้อมูลสมาชิก
สมาคมยางพาราไทย
ข้อมูลสมาชิก
เอกสารด้านวิชาการ
ข้อมูลวิชาการด้านยางพารา
รวมข้อมูลวิชาการยางพารา 2561
เอกสารวิชาการด้านยางพาราปี 2564
ถอดองค์ความรู้
องค์ความรู้
คู่มือข้อมูลทางวิชาการและแนวทางการป้องกันกำจัดโรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา
ระบบการสร้างสวนยางแบบผสมผสานโดยการปลูกยางร่วมกับพืชชนิดอื่น
หลักการปลูกสร้างสวนยางแบบผสมผสาน
การปฎิบัติทางการเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับยางพารา
รวมบทคัดย่อ งานวิจัย 2557-2561
เอกสารวิชาการ
รายงานผลงานวิจัยเรื่องเต็ม
รายงานผลงานวิจัยเรื่องเต็มปี 64
รายงานผลการวิจัยปี 2563
รายชื่องานวิจัยที่สิ้นสุดปี 2535 - 2563
รายงานผลการวิจัยปี 2562
รายงานผลการวิจัยปี 2561
รายงานผลการวิจัยปี 2560
ฐานข้อมูลงานวิจัยที่สิ้นสุดของ กยท. (ปี 2558-2566)
คำแนะนำพันธุ์ยาง
2554
2559
วารสารยางพารา
การจัดการนวัตกรรม
ฐานข้อมูลงานวิจัย
สถิติส่งออกและนำเข้ายาง
สถานการณ์อุตสาหกรรมยาง
ระบบการจับคู่ผู้ซื้อผู้ขาย PFCM
เปิดเผยข้อมูล
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
จริยธรรม
ประมวลจริยธรรมสำหรับผู้บริหารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ
คู่มือจริยธรรม จรรยาบรรณของ ผู้บริหาร พนักงานและลูกจ้างของ กยท.
ติดต่อ
ติดต่อผู้บริหาร กยท.
สถานที่ติดต่อ กยท.
ร้องเรียน-ถามตอบ
ช่องทางร้องเรียน
ถามตอบ
Sitemap
ข่าวสาร กยท.
>>
ข่าวประชาสัมพันธ์การยาง
เริ่มแล้ว !! กยท. ทุ่มงบ 12 ล้าน รับซื้อปลาหมอคางดำ เฟส 2
วันที่ 7 ก.พ. 2568
เริ่มแล้ว !!! การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ทุ่มงบ 12 ล้าน ซื้อปลาหมอคางดำ เฟส 2 เป็นวันแรก (7 ก.พ.68) ผ่านแพปลา - จุดรวบรวมที่ลงทะเบียนกับกรมประมง ตั้งเป้ารับซื้อปลาได้กว่า 600,000 กก. ส่งผลิตเป็นน้ำหมักชีวภาพฯ ที่มีประสิทธิภาพ ช่วยเพิ่มปริมาณน้ำยางและพืชผลการเกษตรอื่นๆ
นายสุขทัศน์ ต่างวิรยกุล รักษาการแทนผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย เผยว่า
การยางแห่งประเทศไทยมีความพร้อมดำเนินการรับซื้อปลาหมอคางดำ ภายใต้โครงการผลิตน้ำหมักชีวภาพเพื่อเกษตรกรชาวสวนยาง ต่อเนื่องเป็นเฟสที่ 2 โดยใช้งบประมาณเงินทุนหมุนเวียน มาตรา 13 รับซื้อปลาหมอคางดำจากแพปลาหรือจุดรับซื้อที่ประกาศโดยกรมประมง ซึ่ง กยท. จะจ่ายเงินให้กับจุดรับซื้อในราคา 20 บาท/กก. (แบ่งเป็นค่าปลาที่จ่ายให้กับชาวประมงหรือผู้จับปลามาขาย 15 บาท/กก. และจ่ายให้กับแพปลาที่กรมประมงประกาศเป็นจุดรับซื้อ เป็นค่าบริหารจัดการรวบรวมขนส่งไปยังจุดผลิตน้ำหมักชีวภาพฯ 5 บาท/กก.) ซึ่งกรมประมงมีการเปิดรับสมัครแพปลาที่สนใจเป็นผู้รวบรวมปลาหมอคางดำ ตั้งแต่วันที่ 30 ม.ค. - วันที่ 5 ก.พ. ที่ผ่านมา และจะประกาศจุดรับซื้อปลาภายในวันนี้ ( 7 ก.พ. 68) โดยพร้อมเปิดจุดรับซื้อทันที สำหรับ กยท. เอง ได้รวบรวมใบสมัครของจุดผลิตน้ำหมักชีวภาพ จาก กยท. ทั้ง 7เขต ทั้งที่เป็นกลุ่มสถาบันเกษตรกรและหมอดินอาสา เพื่อนำข้อมูลมาวางแผนการรับวัตถุดิบจากแพปลาและจุดรวบรวมปลาในโครงการฯ เพื่อส่งเข้าสู่กระบวนการแปรรูปเป็นน้ำหมักชีวภาพปลาหมอคางดำต่อไป
"กยท. หวังว่าการเข้าไปรับซื้อปลาหมอคางดำเพื่อนำมาแปรรูปเป็นน้ำหมักชีวภาพฯ จะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยควบคุมการแพร่ระบาดของปลาหมอคางดำ เพื่อรักษาระบบนิเวศให้เกิดความสมดุลซึ่งถือเป็นนโยบายสำคัญเร่งด่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยการนำของ ศ.ดร.นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฯ ที่ให้ความสำคัญในการมุ่งแก้ปัญหานี้มาอย่างต่อเนื่อง
นายสุขทัศน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า
การรับซื้อปลาหมอคางดำมาแปรรูปเป็นน้ำหมักชีวภาพที่มีประสิทธิภาพ ยังเกิดประโยชน์ต่อกลุ่มเกษตรกรเป็นอย่างยิ่ง โดยหลังจากที่ กยท. นำน้ำหมักชีวภาพจากปลาหมอคางดำที่แปรูปในล็อตแรกไปจัดสรรให้กลุ่มชาวสวนยางกลุ่มแปลงใหญ่ทั่วประเทศ เห็นผลได้ชัดว่า สามารถช่วยให้ต้นยางเจริญเติบโตได้ดี กรีดยางง่ายขึ้น ช่วยเพิ่มผลผลิตยาง รวมไปถึงมีคุณสมบัติช่วยบำรุงพืชเกษตรชนิดอื่นๆ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกรได้มากขึ้นด้วย
ทีมข่าวประชาสัมพันธ์ กยท.
สงวนลิขสิทธิ์ 2559 - การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand)
เลขที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม. 10700 โทร 0-2433-2222 ต่อ 222,296 Email: saraban@raot.mail.go.th
นโยบายเว็บไซต์
|
นโยบายข้อมูลส่วนตัว
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์